|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
สถิติผู้เข้าชม
|
ขณะนี้มีผู้เข้าใช้
|
3
|
ผู้เข้าชมในวันนี้
|
374
|
ผู้เข้าชมทั้งหมด
|
10,017,461
|
เปิดเว็บ
|
26/03/2557
|
ปรับปรุงเว็บ
|
27/08/2567
|
สินค้าทั้งหมด
|
441
|
|
|
8 กันยายน 2567
|
อา |
จ. |
อ. |
พ. |
พฤ |
ศ. |
ส. |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
6 |
7 |
8 |
9 |
10 |
11 |
12 |
13 |
14 |
15 |
16 |
17 |
18 |
19 |
20 |
21 |
22 |
23 |
24 |
25 |
26 |
27 |
28 |
29 |
30 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
พระงั่ง ผิวเกล็ดกระดี่
[27 มกราคม 2564 14:26 น.]จำนวนผู้เข้าชม 4404 คน |
|
พระงั่งผิวเกล็ดกระดี่
ถ้าหากเห็นว่าบทความนี้มีประโยชน์เป็นความรู้เพื่อการศึกษา ช่วยกันแชร์เผยแพร่
เพื่อเป็นวิทยาทานนะครับ และจะเป็นกำลังใจให้กับทางสมาคมอีกด้วยครับ ขอบคุณครับ
ผู้เขียนขออธิบายแบบที่จะให้เพื่อนสมาชิกทุกท่าน เข้าใจกันแบบง่ายที่สุด และเร็วที่สุดกันนะครับ เกล็ดกระดี่ เกิดขึ้นจากการที่โลหะหลายๆ ชนิดมาหลอมรวมกัน
ซึ่งโลหะแต่ละชนิดจุดหลอมละลายไม่เท่ากันเนื้อหาจึงไม่หลอมรวมเป็นเนื้อเดียวกัน อันเกิดจากความร้อนที่หล่อพระโบราณความร้อน ไม่คงที่ กระแสโลหะจึงไม่กลืนเป็นเนื้อเดียวกันโบราณจึงใช้สรรพคำว่า คล้ายเกล็ดปลากระดี่ของปลา
การแยกแยะเกล็ดกระดี่ในพระงั่งแท้นั้นมักมีขนาดเล็กละเอียด เกล็ดกระดี่ที่เกิดขึ้นเป็นธรรมชาติจะมีขึ้นในบางจุดที่มักสำผัสร่างกายผู้ใช้ เกล็ดกระดี่ไม่ควรเกิดขึ้นเสมอกันทั้งองค์ แบบ เร่งรัด หรือจงใจให้เกิดจน (เด่นชัด)และไม่ควรมีขนาดใหญ่คมจนเป็นเส้นตัดแบบชัดเจน เหมือนดั่งในภาพมีการเปรียบเทียบผิวพระแบบธรรมชาติกับ สภาพผิวที่มีการเร่งให้เกิดโดยตั้งใจ
นี้เป็นหนึ่งองค์ประกอบในการพิจารณาผิวพระเท่านั้น ยังมีจุดอื่นๆที่ต้องทำการพิจารณาประกอบด้วยเช่น พิมพ์ ขนาด ขอบฐานดิน ดิน สนิม คราบเก่า รอยธรรมชาติ เพื่อนำมาเป็นจุดเพื่อใช้สนับสนุน องค์ประกอบพระแท้ และ องค์ประกอบพระเก๊ ตามเหตุและผล
( บทความนี้ใช้สำหรับพระงั่งทั้งพิมพ์ กริ่ง และ ฐานดิน ฐานตัน ทุกๆพิมพ์ ) บทความนี้ใช้ดูกับงั่งส่วนใหญ่ในปัจจุบันได้ แต่ ไม่สามารถใช้มาตรฐานนี้ได้กับปลอมเก่า
>>>เขียน 18 / 9 / 2561 ภัทรมหาเวทย์
|
|
|